Page 27 - สารสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (กรกฎาคม 2558)
P. 27

ซึ่งเมื่อเกษตรกรไดก้ ู้เงินจากนายทุนแล้ว ก็จาำ เป็นต้องซอื้ ปจั จยั นายกองเอก เปลง่ ศกั ด์ิ ประกาศเภสชั นายกสมาคมการคา้
การผลติ ของนายทนุ และยงั มีกรณีทเี่ กษตรกรจำาเป็นต้องซือ้ ปุย๋ และธรุ กิจการเกษตรไทย ไดอ้ ภปิ รายหวั ขอ้ “เกษตรกรไทย
ปัจจัยการผลิตจากผู้มอี ทิ ธิพลในท้องถิน่ ดังนัน้ กรมวิชาการ ควรบรหิ ารจดั การปยุ๋ อยา่ งไร เพ่อื เพ่ิมผลผลติ และลดตน้ ทนุ ”
เกษตรจึงมมี าตรการควบคุมตั้งแต่ขั้นตอนการผลติ การขึ้น กลา่ ววา่ แนวทางการทาำ เกษตรกรอยา่ งย่งั ยนื ภายใตก้ ารแขง่ ขนั
ทะเบยี น จนกระทัง่ ขน้ั ตอนการขออนุญาตผลติ ปยุ๋ และสารเคมี ในอาเซียน หรอื AEC ซ่งึ ประเทศไทยเคยเป็นอนั ดับหนึง่ ในการ
การเกษตรด้วย                                                     ส่งออกข้าว แต่ในปัจจุบันประเทศเวียดนามได้แซงอนั ดับการ
  นางวชั รพี ร โอฬารกนก ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการจดั การศตั รพู ชื  สง่ ออกจากประเทศไทยไปแลว้ ดงั นน้ั ควรท่จี ะรว่ มกนั พจิ ารณา
กรมส่งเสริมการเกษตร ได้อภปิ รายหัวข้อ “การบริหารจัดการ           เพอ่ื พฒั นาบา้ นเมือง ไมค่ วรกลา่ ววา่ ใครเกง่ กวา่ กนั พรอ้ มท้งั ควร
ปุ๋ยและสารเคมีเกษตรทีเ่ หมาะสมกับวิถีเกษตรปัจจุบัน               ท่ีจะสนใจในเรอ่ื งสภาพดนิ และนาำ้ วา่ เปน็ อยา่ งไร และเพอ่ื นบา้ น
ในมุมมองของกรมสง่ เสรมิ การเกษตร” กล่าวว่า กรมสง่ เสรมิ          เป็นอย่างไรบ้าง เพือ่ ทีจ่ ะได้ร่วมกันแก้ไขให้ประเทศได้พัฒนา
การเกษตรนับได้ว่าเป็นส่วนราชการทมี่ คี วามใกล้ชิดเกษตรกร         และกา้ วไปข้างหน้าต่อไป
ซ่ึงทำางานด้านบริการและให้ความรู้เรือ่ งปัญหาปุ๋ยและสารเคมี ดร.วรี วุฒิ กตญั ญูกุล นายกสมาคมคนไทยธุรกิจเกษตร
เกษตรท่ีเหมาะสมแกเ่ กษตรกร โดยมีกองสง่ เสรมิ อารกั ขาศตั รพู ชื อภปิ รายหวั ขอ้ “เกษตรกรไทยควรปฏริ ปู การใชส้ ารเคมเี กษตร
และจัดการดินทสี่ นบั สนนุ ความรู้แก่เกษตรกร โดยมีพันธกิจ อย่างไรเพือ่ ความยั่งยืน” กล่าวว่า เกษตรกรต้องปฏิบัติตาม
หลักคือศึกษาปัญหาและประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยดี ้านการจัดการ บัญญตั ิ ๑๐ ประการ ได้แก่ ๑) ตรวจวเิ คราะหป์ ัญหาศัตรูพืช
ศัตรูพืชและดินปุ๋ย พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าทดี่ ้านการจัดการ ให้ถูกต้อง ๒) เลือกชนิดสารกำาจัดศัตรูพืชให้ถูกต้อง ๓) อ่าน
และพัฒนาการให้บริการ พร้อมทัง้ บูรณาการการดำาเนินงาน ฉลากกอ่ นใชท้ ุกคร้งั ๔) ใชใ้ หถ้ กู เวลาและถกู อตั รา ๕) ใชเ้ คร่อื งมอื
ดา้ นการจดั การศตั รพู ชื และดินปยุ๋                             และวิธีการทเี่ หมาะสม ๖) ป้องกันอันตรายโดยใช้หน้ากาก
  นางกุลรัศมิ์ อนันต์พงษ์สุข รองอธิบดีกรมพัฒนาทีด่ ิน            สวมถงุ มอื และเสอ้ื ผา้ ท่เี หมาะสม ๗) ตอ้ งอยเู่ หนอื ลมขณะฉดี พน่
ได้อภิปรายหัวข้อ “การบรหิ ารจดั การดินและปุ๋ยทีเ่ หมาะสม         สารเคมี ๘) ควรพ่นสารเคมีเฉพาะตอนเช้าหรือเย็น ๙) งดใช้
เพือ่ การลดต้นทุน” กล่าวว่า ในการจัดการดินปัญหาและ สารเคมเี มอ่ื ใกลร้ ะยะเกบ็ เกย่ี ว และ ๑๐) ชาำ ระรา่ งกายใหส้ ะอาด
ดนิ เส่อื มโทรม ประเทศไทยมดี นิ ปญั หาท่ีเกดิ ตามสภาพธรรมชาติ หลงั การฉีดพน่
เช่น ดินเปร้ียวจัด ดินอนิ ทรีย์ ดินเคม็ ดนิ ทราย ดนิ ต้นื เปน็ ตน้ หลังจากนั้นเป็นการบรรยายพิเศษ เรื่อง “นโยบาย
ดินปัญหาทเี่ กิดจากการใช้ประโยชน์ทีด่ ิน และการขาดบำารุง และมาตรการส่งเสริมปัจจัยการผลิตทางการเกษตรเพื่อ
รกั ษา กรมพฒั นาท่ีดนิ ไดด้ าำ เนินการปรบั ปรงุ แกไ้ ข ฟน้ื ฟู ใหด้ นิ ภาคเกษตรไทยยั่งยืน” โดย นายอ�านวย ปะติเส รัฐมนตรี
กลับมามสี ภาพทีเ่ หมาะสมต่อการปลกู พืช โดยส่งเสริมการใช้ ชว่ ยวา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไดก้ ลา่ ววา่ รฐั บาลไดใ้ ห้
สารปรับปรุงดิน เช่น ปนู ทางการเกษตร ปุ๋ยอนิ ทรีย์ ปุ๋ยหมกั ความสำาคัญและรับฟังความคิดเห็นของเกษตรกร อะไรจำาเป็น
ปุ๋ยคอก ปุ๋ยพืชสด และผลติ ภัณฑ์ต่าง ๆ ทงั้ นี้ โดยแนะนำา ตอ้ งปรบั กค็ วรปรบั และแนวคดิ ในการปฏริ ปู ปยุ๋ และการจดั การ
ใหเ้ กษตรกรทาำ การวเิ คราะหด์ นิ กอ่ น เพอ่ื ใหก้ ารใชส้ ารปรบั ปรงุ สารเคมีต้องลงท้ายด้วยการบูรณาการ โดยเริ่มจากการวาง
ดินมปี ระสิทธภิ าพสูงสดุ ตอ่ ไป                                  ยุทธศาสตร์ทีจ่ ังหวัด กระจายคนและบุคลากร โดยใช้แผน
  นายสมศกั ดิ์ เครือวลั ย์ หมอดินอาสา ได้อภิปรายหัวข้อ           ปฏิบัตกิ ารปี พ.ศ. ๒๕๕๙ พรอ้ มทั้งบรู ณาการด้านงบประมาณ
“การบริหารจดั การปุ๋ยและสารเคมีเกษตร ทีเ่ หมาะสมกับ              ซ่งึ เช่ือว่าสามารถทจี่ ะดาำ เนินการในเรอื่ งนี้ได้
วถิ เี กษตรเพ่ือความยง่ั ยนื ” กลา่ ววา่ เกษตรกรนาำ สารเคมี ปยุ๋ เคมี สำาหรับการสัมมนาครัง้ นี้ คณะกรรมาธิการการเกษตรและ
มาใช้ในการเกษตร จะตอ้ งพิจารณาถึงผลเสียหายดว้ ย เคมเี ป็น สหกรณ์ สภานิติบัญญัติแห่งชาติจะได้นำาข้อคิดเห็นและ
เป็นพิษมากน้อยแค่ไหน ปัจจุบนั การจำาหน่ายสารเคมแี ละปุ๋ย ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารจัดการปุ๋ยและสารเคมเี กษตร
เคมีในอัตราราคาทส่ี ูง แต่ผลท่ีได้รับจากการใช้กลับเปน็ ผลเสีย จากเกษตรกร เพือ่ นำาไปสู่การกำาหนดนโยบายและแนวทาง
ต่อเกษตรกร ทัง้ ทเี่ กษตรกรโดยภาพรวมทราบว่าเคมีนำามาใช้ ในการแกป้ ญั หาตอ่ ไป
ไมไ่ ดเ้ กดิ ประโยชน์ หากจะใชค้ วรนำามาพิจารณาก่อน
                                                                               25กรกฎาคม J๒u๕ly๕2๘015
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32