Page 29 - สารสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (สิงหาคม 2558)
P. 29

ตลอดจนประชาชนทวั่ ไป ไดม้ สี ว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็
ใหข้ อ้ เสนอแนะ และขอ้ สงั เกตตา่ ง ๆ อนั เปน็ ประโยชนท์ จ่ี ะสง่ ผล
ตอ่ การน�ำไปใชพ้ จิ ารณารา่ งพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู
ว่าดว้ ยการเลอื กตง้ั ต่อไป
การสมั มนาครงั้ นเ้ี ปดิ เวทดี ว้ ยหวั ขอ้ “การเลอื กตง้ั ทบ่ี รสิ ทุ ธ์ิ
และเท่ยี งธรรม” โดยนายสุรชัย เลี้ยงบญุ เลิศชยั รองประธาน
สภานิตบิ ญั ญตั ิแหง่ ชาติ คนทีห่ นง่ึ ได้กล่าววา่ การเลือกตัง้ นี้
มคี วามส�ำคญั อยา่ งยงิ่ เพราะในอนาคตประเทศไทยจะตอ้ งมกี าร
เลือกตั้งครั้งใหม่เกิดขึ้น เราจะท�ำอย่างไรให้การเลือกตั้งนั้น
มีความบริสุทธ์ิยุติธรรม ซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกคนต้องร่วมกันคิดและ •	 นายศภุ ชัย สมเจรญิ ประธานกรรมการการเลอื กตัง้
ชว่ ยกนั แกไ้ ข เชอื่ มน่ั วา่ ทกุ คนในประเทศตอ้ งการเหน็ ประเทศไทย (กกต.) กล่าวว่า การเลือกตั้งเป็นกระบวนการหนึ่งของ
มีการเลอื กตั้งท่บี ริสทุ ธ์ิยตุ ิธรรมเชน่ เดยี วกัน เพราะผลทไ่ี ด้จะมี ประชาธิปไตย จะท�ำอย่างไรให้ได้คนดีเข้ามาบริหารประเทศ
คณุ ตอ่ ประเทศชาตอิ ยา่ งมหาศาล ไมว่ า่ จะเปน็ ทางดา้ นการเมอื ง ซึ่งรัฐธรรมนูญต้ังแต่ปี ๒๕๕๐ กรรมการได้มีการปรับเปล่ียน
สังคมและความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ี ยังเห็นว่าการ การเลือกตั้งให้มีความบริสุทธ์ิยุติธรรมมาโดยตลอด ตั้งแต่ตน
เลือกต้ังนั้นเป็นเพียงกระบวนการหน่ึง ไม่ใช่ท้ังหมดของการ เขา้ มาท�ำหนา้ ที่ กกต. ท�ำใหเ้ ห็นกลวิธเี ลห่ เ์ หลยี่ มต่าง ๆ เพือ่ ให้
ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย การเลอื กตง้ั ทบี่ รสิ ทุ ธย์ิ ตุ ธิ รรม ได้เข้ามามีอ�ำนาจ ดังน้ัน จึงไม่ใช่หน้าท่ีของ กกต. เพียงอย่าง
จะเกดิ ไดข้ นึ้ อยกู่ บั ๓ ชว่ งเวลา คอื กอ่ นการเลอื กตงั้ ระหวา่ งการ เดียว ประชาชนทกุ คนตอ้ งมีหน้าทีช่ ่วยเหลือกัน เพอื่ ท�ำใหเ้ กิด
เลอื กตงั้ และหลงั การเลอื กตงั้ ตอ้ งควบคมุ และด�ำเนนิ การอยา่ ง ความบริสุทธ์ิและเท่ียงธรรม ให้ได้คนดีเข้ามาบริหารประเทศ
เปน็ ระบบ รวมถงึ รปู แบบของการหาเสยี งทเี่ ปลย่ี นไปจากทเ่ี รยี ก และตอ้ งไม่ซ้อื สิทธขิ ายเสียง
วา่ “คืนหมาหอน” นน้ั ไม่มีแลว้  แต่กลายเปน็ การหาเสยี งแบบ •	 นายภัทระ ค�ำพิทักษ์ ประธานสภาการหนังสือพิมพ์
เลี้ยงเสียงแทน ดังน้ัน ขอให้ประชาชนทุกคนร่วมมือช่วยกัน แห่งชาติ ได้ให้ความเห็นว่า อ�ำนาจในการให้ใบเหลืองใบแดง
สอดส่องดูแล อย่าปล่อยใหเ้ ปน็ ภาระหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการ โดยองค์กรบริหารจัดการและองค์กรตรวจสอบไม่ควรอยู่ใน
การเลอื กตัง้ (กกต.) แตเ่ พยี งฝา่ ยเดยี ว                                    องค์กรเดยี วกนั อกี ทงั้ เห็นวา่ กกต. ควรเลิกจัดอบรมหลกั สตู ร
จากนั้น เป็นการอภิปรายของวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิบนเวที การพัฒนาการเมืองและการเลือกตั้งระดับสูงที่ให้นักการเมือง
โดยมี รองศาสตราจารย์ทวีศักด์ิ สูทกวาทิน ประธานคณะ เขา้ ไปศกึ ษา เพราะจะเปน็ การสรา้ งโอกาสในการสรา้ งเครอื ขา่ ย
อนุกรรมาธิการด้านระบบการเลือกต้ังและพรรคการเมือง และสร้างความคุ้นเคยกับคณะกรรมการ กกต. ซ่ึงเสี่ยงต่อ
ท�ำหน้าท่ีเปน็ วิทยากรด�ำเนินรายการ ดังน้ี                                    ความเป็นอิสระในการท�ำหน้าที่ นอกจากน้ี ในประเด็นของ
•	 ศาสตราจารย์ ดร.ไชยนั ต์ ไชยพร อาจารยป์ ระจำ� ภาค พรรคการเมอื ง ตอ้ งท�ำใหพ้ รรคการเมอื งเปน็ ของประชาชนอยา่ ง
วิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แทจ้ รงิ เพราะในปจั จบุ นั พรรคการเมอื งสว่ นใหญถ่ กู ควบคมุ โดย
ได้กล่าวว่า การออกแบบการเลือกตั้งที่บริสุทธ์ิและเที่ยงธรรม หัวหน้าพรรคหรือกรรมการบริหารพรรคที่ช้ีน�ำหรือชักจูงให้
เป็นการออกแบบมาเพื่อสะท้อนความเห็นของประชาชน โดย สมาชิกพรรครับนโยบายและน�ำไปปฏิบัติเท่านั้น ซึ่งลักษณะ
กระบวนการเรม่ิ จาก ๑) การยบุ สภา ๒) เงอื่ นไขและคณุ สมบตั ิ เชน่ น้ไี มไ่ ดส้ ร้างประโยชนใ์ ห้แก่ประชาชนแตอ่ ยา่ งใด
ของผสู้ มคั รรบั เลอื กตงั้ ๓) การก�ำหนดวนั เลอื กตง้ั และระยะเวลา ภายหลังเสร็จสิ้นการอภิปราย ได้เปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วม
หาเสียง ๔) เกณฑ์ข้ันต่�ำของคะแนนเสียงเลือกตั้ง ๕) การจัด สัมมนาเสนอแนะและแสดงความคิดเห็นอย่างหลากหลาย
แบง่ เขตและระบบเลอื กตงั้ และ ๖) การรณรงคห์ าเสยี งและการ เช่น หากพบการเลือกตั้งท่ีส่อไปในทางทุจริตและมีหลักฐาน
ปอ้ งกนั การทจุ รติ ในการเลอื กตง้ั การยบุ สภานนั้ เกดิ จากสาเหตุ เพยี งพอ กกต. ควรลงโทษถอดถอนภายใน ๔ ปี ทนั ที ใหต้ ดั สทิ ธิ
๒ ประการ คอื การยบุ สภาเมอื่ ครบเทอม (๔ ป)ี กบั การยบุ สภา ทางการเมืองของบุคคลท่ีทุจริต ๒๐ - ๓๐ ปี หรือตลอดชีวิต
กอ่ นครบเทอม เชน่ มกี ารลงคะแนนเสยี งไมไ่ วว้ างใจการบรหิ าร ให้มีการด�ำเนินคดีทางอาญาอย่างชัดเจน หรือข้าราชการ
งานของรฐั บาล พรรคฝา่ ยรฐั บาลสญู เสยี คะแนนเสยี งขา้ งมากใน ท่ีมีส่วนร่วมกระท�ำความผิด รับสินบน ควรมีบทลงโทษอย่าง
สภาจากการลงมตติ อ่ รา่ งกฎหมายทสี่ �ำคญั เปน็ ตน้ ซงึ่ เปน็ เหตุ เดด็ ขาด เปน็ ตน้ การสมั มนาในครง้ั น้ี คณะกรรมาธกิ ารการเมอื ง
อนั เหมาะสมตอ่ การยบุ สภา แตม่ กี ารยบุ สภาทผ่ี ดิ แผกไปจากเดมิ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ จะมีการรวบรวมข้อมูล ข้อคิดเห็น
คอื ในปี ๒๕๔๙ สมยั พ.ต.ท. ทกั ษณิ ชนิ วตั ร เปน็ นายกรฐั มนตรี และข้อเสนอแนะตา่ ง ๆ จัดท�ำเป็นรายงานสรปุ ผลเพื่อน�ำไปใช้
ได้เกิดวิกฤตการณ์การเมืองที่ชุมนุมเพื่อขับไล่นายกรัฐมนตรี ประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
จนน�ำไปสกู่ ารยบุ สภา จงึ ถอื เปน็ เรอื่ งทผ่ี ดิ หลกั การไปจากเดมิ วา่ ดว้ ยการเลือกตั้งที่ก�ำลงั จะเกิดข้นึ ต่อไป

ทีม่ าภาพ:	 http://www.es-vector.org (สบื คน้ เมอื่ วนั ที่ ๗ สงิ หาคม ๒๕๕๘)                      27สงิ หาคAมug๒u๕st๕2๘015
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34