Page 32 - สารสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (สิงหาคม 2558)
P. 32

ตามติดภารกิจ กมธ.

โดย ทมี เฉพาะกิจส�ำนกั ประชาสัมพันธ์

                                                                            การจะขบั เคลอื่ นปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งใหเ้ ปน็ ผลส�ำเรจ็ นน้ั
                                                                            จ�ำเปน็ อยา่ งยง่ิ ทจี่ ะตอ้ งด�ำเนนิ การในทกุ ระดบั ตง้ั แตร่ ะดบั บคุ คล
                                                                            ระดบั ครอบครัว ระดับสถานศึกษา ระดบั องคก์ าร ระดับชมุ ชน
                                                                            ระดบั สงั คม และระดบั ชาติ ดว้ ยเหตนุ ้ี คณะอนกุ รรมาธกิ ารดา้ น
                                                                            การศาสนา ในคณะกรรมาธกิ ารการศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม
                                                                            และการทอ่ งเทยี่ ว สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาติ จงึ รว่ มกบั กรมการ
                                                                            ศาสนา และสภายวุ พทุ ธกิ สมาคมแหง่ ชาติ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
                                                                            จัดโครงการสมั มนาเยาวชน เรอื่ ง “การขับเคลือ่ นปรัชญาของ
                                                                            เศรษฐกจิ พอเพียง” ข้ึน เมือ่ วนั เสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘
                                                                            ณ หอ้ งประชมุ คณะกรรมาธกิ าร หมายเลข ๓๐๖ - ๓๐๘ อาคาร
                                                                            รัฐสภา ๒ โดยไดร้ บั เกยี รตจิ าก พลอากาศเอก ชลิต พุกผาสุก
                                                                            องคมนตรี เป็นประธานเปิดการสัมมนา และนายสมพร
                                                                            เทพสทิ ธา ประธานสภายวุ พทุ ธกิ สมาคมแหง่ ชาติ ในพระบรม
                                                                            ราชูปถมั ภ์ และประธานคณะอนกุ รรมาธิการดา้ นการศาสนา
                                                                            สภานิติบญั ญัติแหง่ ชาติ กลา่ วรายงาน
                                                                            การสัมมนาครั้งนี้จัดขึ้นเพ่ือเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจท่ี
                                                                            ถกู ตอ้ งเกยี่ วกบั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งใหเ้ ยาวชนไดร้ บั ความรู้
                                                                            ความเข้าใจพร้อมน�ำไปประพฤติปฏิบัติ นอกจากน้ัน ยังเป็น
                                                                            การสนับสนุนสถานศึกษาให้พัฒนาเป็นสถานศึกษาพอเพียง
                                                                            พร้อมกันไปกับการส่งเสริมความมั่นคงของพระพุทธศาสนาท่ี
                                                                            ให้ยึดทางสายกลาง ยึดม่นั ในคณุ ธรรม ตลอดจนสนบั สนุนการ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานปรัชญา ขบั เคลอ่ื นปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในการปฏริ ปู ประเทศไทยดว้ ย
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งใหแ้ กป่ ระชาชนชาวไทย เพอ่ื ใชใ้ นการ จากนน้ั เปน็ การอภปิ รายเร่อื ง “การขับเคลอ่ื นปรชั ญาของ
พัฒนาและบรหิ ารประเทศให้ด�ำเนนิ ไปในทางสายกลาง และ เศรษฐกิจพอเพียง” โดยวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ได้บรรยายใน
ชใี้ หเ้ หน็ ถงึ แนวทางการดำ� รงอยแู่ ละหลกั ปฏบิ ตั ขิ องประชาชน สาระส�ำคัญ ซึ่งสรุปประเดน็ ท่นี ่าสนใจได้ ดงั นี้
ในทกุ ระดบั ตงั้ แตร่ ะดบั บคุ คลครอบครวั ชมุ ชนจนถงึ ระดบั ชาติ นายสมพร เทพสิทธา ประธานสภายุวพทุ ธกิ สมาคมแห่ง
ซ่ึงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงน้ันมีหลักการส�ำคัญ ชาติ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ และประธานคณะอนกุ รรมาธกิ าร
๓ ประการ ได้แก่ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และ ดา้ นการศาสนา สภานติ บิ ญั ญัติแห่งชาติ ชใ้ี ห้เห็นว่าหลังจาก
การสรา้ งภูมคิ ุ้มกันในตัวที่ดี ท้ังนี้ อยู่บนเง่ือนไข ๒ ประการ วกิ ฤตเศรษฐกจิ ในปี ๒๕๔๐ สังคมไทยเริม่ น้อมน�ำหลกั ปรชั ญา
คือ เงอ่ื นไขความรแู้ ละเงอ่ื นไขคณุ ธรรม                                   ของเศรษฐกจิ พอเพยี งของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มาปรบั
การปฏิบัติตนตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน และรัฐบาลได้น�ำหลักปรัชญาดังกล่าวมา
ผปู้ ฏบิ ตั ติ อ้ งปฏบิ ตั ติ ามหลกั ดงั นี้ ๑) ยดึ ความประหยดั ตดั ทอน บรรจุไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตั้งแต่
คา่ ใช้จา่ ยทุกดา้ น ลดละความฟมุ่ เฟอื ยในการใช้ชีวติ ๒) ยดึ การ ฉบบั ที่ ๙ จนถงึ ฉบบั ที่ ๑๑ ซึ่งเป็นฉบับปัจจบุ ัน ท้งั น้ี เพอ่ื เปน็
ประกอบอาชีพด้วยความถูกตอ้ ง ซ่อื สตั ย์สจุ รติ ๓) ละเลกิ การ หลกั น�ำทางในการพฒั นาและบรหิ ารประเทศ โดยเฉพาะรฐั บาล
แกง่ แยง่ ผลประโยชนแ์ ละแขง่ ขนั กนั ในทางการคา้ แบบทต่ี อ่ สกู้ นั ชุดปัจจุบันก็ได้น้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็น
อย่างรุนแรง ๔) ไมห่ ยุดนิ่งทีจ่ ะหาทางให้ชวี ติ หลดุ พน้ จากความ หลักน�ำในการพัฒนาและปฏิรูปประเทศ เพ่ือคลี่คลายปัญหา
ทุกข์ยาก ด้วยการขวนขวายใฝ่หาความรู้ให้มีรายได้เพ่ิมพูนข้ึน ต่าง ๆ ตามล�ำดบั
จนถงึ ขัน้ พอเพยี งซงึ่ เปน็ เปา้ หมายส�ำคญั และ ๕) ปฏิบัติตนใน จากสภาวการณ์ของประเทศไทยในขณะนี้ ทางรอดของ
แนวทางที่ดี ลดละส่ิงชัว่ ประพฤตติ นตามหลักศาสนา                             ประเทศจึงอยู่ที่การน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา

30 สาTรhสeภาNนaติ tiบิoญัnaญl Lัตeแิ gหi่งsชlaาtตivิ e Assembly Newsletter
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37