Page 13 - สารสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (กรกฎาคม 2558)
P. 13

ท่คี ณะกรรมการการเลอื กต้งั ประกาศกาำ หนดโดยความเหน็ ชอบ การพจิ ารณาร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ของสภานติ ิบญั ญัติแหง่ ชาติ และประกาศในราชกิจจานเุ บกษา (ฉบบั ช่วั คราว) พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ แกไ้ ขเพ่มิ เตมิ (ฉบบั ท่ี ..)
ทงั้ นี้ ให้นำาพระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู ว่าด้วยการ พุทธศกั ราช …. ของสภานิติบัญญัติแหง่ ชาติ
ออกเสยี งประชามติ พ.ศ. ๒๕๕๒ ในส่วนทเี่ กี่ยวกับความผิด เมือ่ วันพฤหัสบดีที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๘ ทปี่ ระชุมสภา
และบทกำาหนดโทษ มาใช้บังคับแก่การดำาเนนิ การออกเสียง นิติบัญญัติแห่งชาติ มีการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ประชามตติ ามรัฐธรรมนูญนดี้ ้วย                                                 คร้งั ท่ี ๓๖/๒๕๕๘ เพ่อื พจิ ารณารา่ งรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั ร
     ๔.๒ การจัดให้มีการออกเสียงประชามติ ให้เป็นการ ไทย (ฉบับชัว่ คราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ แก้ไขเพิ่มเติม
ออกเสยี งประชามติว่าจะให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ (ฉบับท่ี ..) พทุ ธศกั ราช …. โดยในการพจิ ารณารา่ งรัฐธรรมนูญ
ร่างรัฐธรรมนญู ทงั้ ฉบับ และต้องกระทำาในวันเดียวกัน ดังกล่าวเป็นการพิจารณาทัง้ สามวาระไปในคราวเดียวกัน
ท่ัวราชอาณาจักร โดยให้ถอื เอาเสยี งขา้ งมากเปน็ เกณฑ์                          ซง่ึ สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาตไิ ดพ้ จิ ารณาวาระท่ีหน่งึ ข้นั รบั หลกั การ
                                                                               โดยทปี่ ระชุมได้พิจารณาและลงมติรับหลักการด้วยคะแนน
     ๔.๓ การกำาหนดวันออกเสยี งประชามติต้องไม่เร็ว                              เสียง ๒๐๔ เสยี ง ไม่รับหลักการ (ไม่ม)ี งดออกเสียง ๓ เสยี ง
กว่า ๓๐ วัน แต่ไม่ช้ากว่า ๔๕ วันนับแต่วันทคี่ ณะกรรมการ                        จากนัน้ ได้พิจารณาต่อไปในวาระทีส่ อง ขั้นพิจารณาเรียงตาม
การเลือกตง้ั สง่ รา่ งรฐั ธรรมนูญใหแ้ กผ่ มู้ ีสิทธอิ อกเสยี งประชามติ         ลำาดับมาตรา ซึ่งเป็นการพิจารณาโดยกรรมาธิการเต็มสภา
ไดไ้ มน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ของครวั เรอื นท้งั หมดท่ผี มู้ ีสทิ ธอิ อกเสยี ง  โดยถือว่ามสี มาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติทกุ คนในทีป่ ระชุม
ประชามตมิ ชี ่อื อยู่ในทะเบียนบ้าน                                             ประกอบกันเป็นคณะกรรมาธิการ และมีศาสตราจารย์พิเศษ
                                                                               พรเพชร วชิ ติ ชลชยั ประธานสภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาติ เปน็ ประธาน
     ๔.๔ ผู้มีสิทธิออกเสียงประชามติต้องมคี ุณสมบัติ                            กรรมาธิการ ซึ่งในการพิจารณาในวาระทสี่ องนี้ สมาชิกสภา
และไม่มลี ักษณะต้องห้ามเช่นเดียวกับผู้มีสิทธิเลือกตัง้ ในการ                   นิติบัญญัติแห่งชาติได้ร่วมกันอภิปรายอย่างกว้างขวาง และ
เลือกต้ังทัว่ ไปครงั้ สุดท้ายก่อนวันทรี่ ัฐธรรมนญู น้ีใชบ้ งั คับ              เมื่อสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้พิจารณาในวาระทีส่ อง
                                                                               เสร็จแล้ว ได้พิจารณาต่อไปในวาระทสี่ าม ขัน้ ลงมติเห็นชอบ
     ๔.๕ ถ้าผู้มีสิทธิออกเสียงประชามติโดยเสียงข้างมาก                          ประกาศใช้เป็นกฎหมาย โดยทปี่ ระชุมได้ลงมติเห็นชอบด้วย
เห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนญู ให้นายกรัฐมนตรีนำาขึ้น                            คะแนนเสยี ง ๒๐๓ เสยี ง ไมเ่ หน็ ชอบ (ไมม่ )ี งดออกเสยี ง ๓ เสยี ง
ทลู เกล้าฯ ถวายภายใน ๓๐ วันนับแต่วันประกาศผลการ                                โดยมีจาำ นวนสมาชกิ ท่เี ขา้ รว่ มประชมุ ท้งั หมด ๒๐๖ คน ซ่งึ ถอื วา่
ออกเสยี งประชามติและเม่ือทรงลงพระปรมาภไิ ธยแลว้ ใหป้ ระกาศ                     เปน็ จาำ นวนไมน่ อ้ ยกวา่ กง่ึ หนง่ึ ของจาำ นวนสมาชกิ ท้งั หมดเทา่ ท่มี ี
ในราชกิจจานเุ บกษาและใช้บังคับได้ โดยให้นายกรัฐมนตรี                           อยขู่ องสภา คอื ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๑๐ เสยี ง ท้งั น้ี เมอ่ื สภานติ บิ ญั ญตั ิ
ลงนามรบั สนองพระบรมราชโองการ ในกรณที ่พี ระมหากษตั รยิ ์                       แห่งชาติให้ความเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิม่ เติมแล้ว
ไม่ทรงเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนญู และพระราชทานคืนมา                           ให้นายกรัฐมนตรีนำาร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึน้ ทลู เกล้าฯ
หรอื พน้ ๙๐ วนั แลว้ มไิ ดพ้ ระราชทานคนื มา ใหร้ า่ งรฐั ธรรมนญู นน้ั
เปน็ อนั ตกไป

๕. วาระการดา� รงต�าแหนง่ ของสมาชิกสภาปฏริ ปู แหง่ ชาติ ถวายใน ๑๕ วัน นับแตว่ นั ที่สภานิติบัญญัติแหง่ ชาติมมี ติเพือ่ ให้
๕.๑ ใหส้ ภาปฏริ ปู แหง่ ชาตเิ ปน็ อันสน้ิ สดุ ลงในกรณี ดงั น้ี พระมหากษตั รยิ ท์ รงลงพระปรมาภไิ ธย และเม่อื ประกาศในราช
(๑) สภาปฏิรูปแห่งชาติพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญ กิจจานเุ บกษาแลว้ ใหใ้ ชบ้ ังคบั เปน็ กฎหมายต่อไป
ไม่แล้วเสรจ็ ภายในเวลาทก่ี าำ หนด                                              เมื่อวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๘ พระบาทสมเด็จ
(๒) สภาปฏริ ปู แหง่ ชาตไิ ดพ้ จิ ารณารา่ งรฐั ธรรมนญู พระเจา้ อยหู่ วั ไดม้ พี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ รฐั ธรรมนญู
เสร็จแล้ว ทงั้ นี้ ไม่ว่าจะมมี ติเห็นชอบหรือไม่ให้ความเห็นชอบ แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗
รา่ งรฐั ธรรมนูญกต็ าม                                                         แกไ้ ขเพิม่ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๑) พุทธศกั ราช ๒๕๕๘ โดยมีผลใชบ้ ังคบั
                                                                               นบั ตัง้ แตว่ ันถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป
     ๕.๒ เม่อื สภาปฏริ ปู แหง่ ชาตสิ ้นิ สดุ ลงไมว่ า่ ดว้ ยเหตใุ ด ไม่          สามารถติดตามรายละเอียดได้ทีเ่ ว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา
ใหม้ สี ภาปฏริ ปู แหง่ ชาตติ ามรฐั ธรรมนูญน้ีอกี แตใ่ หม้ ีการแตง่ ตง้ั
สภาขบั เคล่อื นการปฏริ ปู ประเทศข้นึ แทน เพอ่ื ดาำ เนนิ การใหเ้ กดิ            http://www.mratchakitcha.soc.go.th หรือ QR Code
การปฏิรูปด้านต่าง ๆ สืบต่อจากสภาปฏิรูปแห่งชาติ โดยสภา ตามทป่ี รากฏทา้ ยน้ี
ขับเคลอื่ นการปฏิรูปประเทศ ประกอบด้วย สมาชิกจำานวน
ไม่เกิน ๒๐๐ คน ซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้มสี ัญชาติไทย
โดยการเกดิ และมอี ายุไมต่ า่ำ กวา่ ๓๕ ปี โดยใหแ้ ตง่ ตง้ั ใหแ้ ลว้ เสรจ็
ภายใน ๓๐ วันนบั แตว่ ันทส่ี ภาปฏิรปู แห่งชาตสิ ้ินสุดลง

                                                                               11กรกฎาคม J๒u๕ly๕2๘015
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18