Page 31 - สารสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (กุมภาพันธ์ 2558)
P. 31

เชน่ ญป่ี ่นุ สหรัฐอเมรกิ า เป็นตน้ ในขณะท่ีเมอื่ เปรยี บเทียบกบั
                                   กลุ่มประเทศอาเซียน พบว่า ไทยมีอันดับความสามารถ
                                   ในการแข่งขันดีกว่าทั้งหมด ยกเว้น สิงคโปร์ และมาเลเซีย
                                   ด้วยเหตุนี้ ท้ังภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา จึงต้อง
                                   ร่วมมือกันแก้ปัญหาในด้านการใช้นวัตกรรมในการขับเคล่ือน
                                   เศรษฐกจิ ให้มบี ทบาทมากย่งิ ขึ้น
                                   ๓.	 การสรา้ งมลู คา่ เพมิ่ ของภาคการผลติ และบรกิ ารทต่ี รงกบั
                                   ความตอ้ งการของตลาดทงั้ ภายในและภายนอกประเทศจะน�ำไปสู่
                                   การเพ่ิมการจ้างงาน ซึ่งเป็นการยกระดับรายได้ที่แท้จริงและ
มุง่ สู่การเปน็ Trading Nation” โดยเนน้ การยกระดบั ศักยภาพ คณุ ภาพชีวติ ของคนในประเทศ
ใหก้ บั วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SMEs) ผา่ นการสรา้ ง ๔.	 ความท้าทายในการพัฒนาขีดความสามารถของไทย
ความเขม้ แขง็ ให้ SMEs นบั ตง้ั แตบ่ ม่ เพาะผเู้ รมิ่ ตน้ ประกอบกจิ การ แบง่ ออกได้ ๓ ประเดน็ ใหญ่ ดงั นี้
เพม่ิ ชอ่ งทางการประกอบธรุ กจิ (ModeofEntry)เชน่ การรว่ มทนุ 	 ๔.๑	ด้านประสิทธิภาพเอกชนเพื่อยกระดับสู่การผลิต
(franchising) การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (ventures) และ ฐานนวตั กรรม ไดแ้ ก่ การจดั ทำ� เครือข่ายวสิ าหกจิ เพ่มิ ขึ้น เพือ่
การเตมิ เตม็ ศกั ยภาพใหก้ บั ธรุ กจิ ทมี่ คี วามพรอ้ มผา่ นการสง่ เสรมิ ยกระดับให้ได้มาตรฐานสากลในเร่ืองทักษะการพัฒนาระบบ
ผู้ประกอบการให้เช่ือมต่อกับห่วงโซ่คุณค่าโลกและภูมิภาค คุณวุฒิวิชาชีพเพื่อป้องกันปัญหาสมองไหล ทักษะการเงิน
(Global/Regional Values Chain) และส่งเสริมภาคธุรกิจ และทักษะ ICT
ให้สามารถได้ประโยชน์สูงสุดจากการเช่ือมโยงที่แน่นแฟ้นข้ึน 	 ๔.๒	ด้านคุณภาพและเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการ
กบั อาเซยี นและเอเชยี ทม่ี แี นวโนม้ เตบิ โตในทศวรรษหนา้ โดยมงุ่ บรหิ ารจดั การภาครฐั ไดแ้ ก่ ศกั ยภาพในการบรหิ ารดา้ นการเงนิ
การพัฒนาประเทศสู่การเป็นประเทศแห่งการค้าท้ังในภูมิภาค การคลัง ทั้งในส่วนของรายได้และรายจ่าย โครงสร้างภาษี
และระดับโลก                        ทงั้ ระบบรวมถงึ การบรหิ ารนโยบายดา้ นอน่ื ๆทเ่ี ออื้ ตอ่ การอำ� นวย
จากนั้น เป็นการอภิปรายต่อในประเด็นเรื่อง “ขีดความ ความสะดวกดา้ นการคา้ และการลงทนุ และการจดั ทำ� ยทุ ธศาสตร์
สามารถในการแข่งขันของประเทศไทย” โดย วทิ ยากรทรี่ ว่ ม ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของประเทศ
อภิปราย ประกอบด้วย นายศิริพล ยอดเมืองเจริญ ประธาน ผา่ นกระบวนการมสี ว่ นร่วมของทุกภาคส่วนใหม้ ากข้ึน
คณะอนกุ รรมาธิการการพาณิชย์ นายสุพันธ์ุ มงคลสธุ ี ประธาน 	 ๔.๓	ด้านทรัพยากรมนุษย์ ได้แก่ พัฒนาการศึกษา
คณะอนกุ รรมาธกิ ารการอตุ สาหกรรม นายพจน์ อรา่ มวฒั นานนท์ โดยยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาระดับอาชีวศึกษา
ประธานคณะอนุกรรมาธิการการแรงงาน เลขาธิการคณะ ผลิตก�ำลังคนที่มีความเป็นเลิศในการสร้างสรรค์นวัตกรรมและ
กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผู้ช่วย องคค์ วามรใู้ หมท่ กุ สาขาทส่ี อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาด
ศาสตราจารย์ ดร.ธนวรรธน์ พลวิชัย รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย แรงงาน และส่งเสริมสุขภาวะของคนให้มีสุขภาพแข็งแรง
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และ ดร.เบญจรงค์ สุวรรณคีรี และอยู่ในสภาพแวดลอ้ มทด่ี ี เปน็ ตน้
ผู้อำ� นวยการอาวโุ สศูนย์วเิ คราะห์เศรษฐกจิ ธนาคารทหารไทย ในการสมั มนาครง้ั น้ี ทำ� ใหไ้ ดร้ บั ทราบถงึ ความสามารถในการ
จ�ำกัด (มหาชน) ซ่งึ ทุกทา่ นไดอ้ ภิปรายไวอ้ ยา่ งน่าสนใจ โดยมี แข่งขันของไทยกับอาเซียน บทบาทของภาคเอกชนไทยต่อ
ประเดน็ ทห่ี ลากหลาย ดังตอ่ ไปน้ี  การยกระดบั ความสามารถทางการแขง่ ขนั ของประเทศ การเพม่ิ
๑.	 การจัดท�ำยุทธศาสตร์การเพิ่มขีดความสามารถในการ ขีดความสามารถในการแข่งขันด้านตลาดแรงงาน ตลอดจน
แขง่ ขนั ไดแ้ ก่ การเพม่ิ คณุ ภาพการผลติ การลงทนุ ทางโครงสรา้ ง แนวทางในการเพ่ิมศักยภาพในการแข่งขันของผู้ประกอบการ
พื้นฐานของประเทศ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา ตลอดจน วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัย
วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การพฒั นา การแกไ้ ขปญั หาคอรร์ ปั ชนั การปฏริ ปู ในการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ
การศกึ ษาและพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ การปรบั ปรงุ กฎหมายและ เพ่ือการแข่งขันในเวทีนานาชาติ อันจะท�ำให้ภาคเศรษฐกิจ
กฎระเบยี บใหท้ นั สมยั มมี าตรฐานและคลอ่ งตวั ในการดำ� เนนิ งาน มีความเข้มแข็งและน�ำไปสู่ความสามารถในการแข่งขันและ
รวมถึงการปรับโครงสร้างภาษีและพลังงานให้สอดคล้องกับ พัฒนาได้อย่างย่ังยืน ซ่ึงถือว่าจะเป็นประโยชน์อย่างย่ิง
การพฒั นาทย่ี ั่งยนื               ในการที่จะนำ� ข้อมลู องค์ความรตู้ ่าง ๆ ทีไ่ ดร้ บั มาจัดทำ� รายงาน
๒.	 ประเทศไทยมีอันดับความสามารถในการแข่งขัน เสนอต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เพ่ือเสนอต่อรัฐบาลตาม
ท่ีด้อยกว่าประเทศในกลุ่มท่ีขับเคล่ือนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม วัตถปุ ระสงคท์ ี่ต้ังไว้ตอ่ ไป

                                                                                                            29กFมุ EภBาRพUนั AธR์ ๒Y๕2๕01๘5
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36