Page 35 - สารสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (กุมภาพันธ์ 2558)
P. 35

ในครั้งนี้ด้วย นอกจากนี้ ยังมีผู้บรรยายและผู้เข้าร่วมสัมมนา ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์เช่นกัน แต่ระบบการพัฒนาของ
ซึ่งเป็นผู้แทนจากภาคส่วนต่าง ๆ อาทิ หน่วยงานสังกัด เทคโนโลยีด้านความมั่นคงก็ยังไม่มีความก้าวหน้าเท่าท่ีควร
กระทรวงกลาโหม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท้ังน้ี เน่ืองมาจากปัญหาส�ำคัญ คือ บุคลากรมีการย้าย
สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศฯ ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ โดยไม่มีบุคลากรประจ�ำหรือถาวร ผลงานวิจัยไม่ตอบสนอง
สถาบันวิจัย สถาบันการศึกษาท่ีเก่ียวข้อง และส่ือมวลชนที่ ความตอ้ งการ ไม่มมี าตรฐาน ขาดแคลนทรัพยากรทางการวจิ ัย
สนใจจ�ำนวนมาก ซ่ึงรายละเอียดการสัมมนาสามารถสรุปได้ ขาดความเชื่อมโยงกับหน่วยงานภายนอกอย่างเป็นรูปธรรม
ดังน้ี ซ่ึงอปุ สรรคเหล่านจ้ี ะต้องได้รับการแกไ้ ขจากทกุ ภาคส่วน
บรรยายพิเศษ หัวข้อ “ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ • การนำ� เสนอตวั อยา่ งการวจิ ยั และพฒั นาดา้ นความมนั่ คง
นวัตกรรมเพื่อพัฒนาประเทศตามนโยบายรัฐบาล” โดย อาทิ โครงการวิจัยและพัฒนาดินส่งกระสุนปืน ดินขับจรวด
ดร.พเิ ชฐ ดรุ งคเวโรจน์ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวทิ ยาศาสตร์ ของศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร
และเทคโนโลยี : สิ่งท่ีมีความหมายต่อประเทศไทยในการ และโครงการเสอ้ื เกราะกนั กระสนุ โครงการตน้ แบบเรอื ตดิ เกราะ
พัฒนาในขณะน้ี และเป็นนโยบาย ๑ ใน ๑๑ ข้อท่ีได้แถลง จโู่ จมลำ� นำ้� โครงการวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งอากาศยานไรค้ นขบั แบบ
ต่อที่ประชุมสภา คือการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปกี นงิ่ ของสำ� นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ
โดยการน�ำเอาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ ซ่ึงโครงการวิจัยเหล่าน้ีสามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้จริงและ
ให้เกิดประโยชน์สูงสุด การสร้างนักวิจัยจ�ำนวนมาก และ ช่วยประหยัดงบประมาณแผ่นดินในการจัดซ้ืออุปกรณ์จาก
การแก้ไขด้านกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการวิจัยและพัฒนา ต่างประเทศไดเ้ ป็นจำ� นวนมาก
เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมตา่ ง ๆ โดยรฐั บาลมเี จตนารมณท์ จ่ี ะทำ� จากนน้ั เปน็ การระดมความคดิ เหน็ เรอื่ งการวจิ ยั และพฒั นา
ซ่ึงสรปุ ในภาพรวม คือ ๑) ความต่อเนอื่ งเชิงนโยบายโดยนำ� เอา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อความมั่นคง โดยผู้เข้าร่วม
เทคโนโลยีมาพฒั นาประเทศ ๒) พัฒนาธุรกิจ SME เพือ่ สรา้ ง การสัมมนาได้แสดงความคิดเห็นกันอย่างกว้างขวาง ซ่ึง
ประสทิ ธภิ าพในระบบการผลติ ๓) พฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานโดย คณะกรรมาธกิ ารการสอ่ื สารมวลชน การวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี
การลงทนุ รว่ มกบั เอกชนหรอื อาจใหเ้ อกชนมาเชา่ ใช้ ๔) การผลติ และสารสนเทศ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ จะน�ำข้อคิดเห็น
และพัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ฯ และ ๕) การน�ำเอา และข้อเสนอแนะต่าง ๆ มาประมวลผลเพื่อให้เกิดการพัฒนา
ผลการวิจัยมาใช้ประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจด้วยการปรับปรุง ด้านความม่ันคงและการขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนา
แกไ้ ขกฎหมายทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง                                 อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป
การอภิปรายหัวข้อ “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อ
ความมนั่ คง : อดตี ปจั จบุ นั อนาคต” : เริ่มดว้ ยการน�ำเสนอ
วีดีทัศน์ภาพรวมของกระทรวงกลาโหม จากน้ัน เริ่มอภิปราย
โดย พลโท ถเกิงกานต์ ศรีอ�ำไพ เจ้ากรมวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีกลาโหม ได้สรุปภาพรวมการด�ำเนินงาน ปัญหา
จากการวิจัยและปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ โดยระบุปัจจัยแห่ง
ความส�ำเร็จที่ส�ำคัญ คือ การบูรณาการหน่วยงานวิจัยจาก
ทุกภาคส่วนอย่างเป็นรูปธรรม เกิดทีมงานวิจัยที่มีความรู้
ความช�ำนาญ ผลงานวิจัยมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ น�ำไป
สู่มาตรฐาน และการสร้างความเช่ือมโยงอย่างเป็นรูปธรรม
ระหว่างหน่วยวิจัย หน่วยผลิต และหน่วยใช้งาน และ
พลเอก สมพงศ์ มุกดาสกุล ผอ.สถาบันเทคโนโลยีป้องกัน
ประเทศ กล่าวถึงความส�ำคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ท่ีท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงประเทศขนาดใหญ่ แม้กระทั่ง
หน่วยงานด้านความม่ันคงก็ต้องอาศัยเทคโนโลยีพัฒนา

                                                                                    33กFมุ EภBาRพUันAธR์ ๒Y๕2๕01๘5
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40