Page 27 - สารสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (มีนาคม 2558)
P. 27

จัดการ ๓ กองทุนสุขภาพ รวมถึงการร่วมจ่ายบริการสุขภาพ
ระหว่างรัฐกับผู้ให้บริการ ซึ่งจะเป็นการร่วมจ่ายในรูปแบบใด
ขณะน้ีอยู่ระหว่างการพิจารณาศึกษาเพื่อหาแนวทางที่มี
ความเหมาะสมมากที่สดุ
นายแพทยว์ ชริ ะ เพง็ จนั ทร์ รองปลดั กระทรวงสาธารณสขุ
กลา่ วว่า กระทรวงสาธารณสขุ เนน้ การปฏิรูปใน ๔ เร่ืองหลัก ๆ
คือ ๑) การพัฒนากลไก สร้างเอกภาพในการก�ำหนดนโยบาย
สาธารณสขุ ของประเทศ (National Health Authority : NHA)
ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขจะเป็นองค์กรหลักที่ดูแลเร่ืองน้ี โดยมี
คณะกรรมการอ�ำนวยการสาธารณสุขแห่งชาติ (National                           ศาสตราจารยพ์ เิ ศษพรเพชร วชิ ิตชลชยั  นายแพทย์เจตน์ ศิรธรานนท์
Health Directing Board : NHDB) มปี ลดั กระทรวงสาธารณสขุ                  ประธานสภานิตบิ ัญญัตแิ หง่ ชาติ       ประธานคณะกรรมาธกิ ารการสาธารณสุข

เปน็ ผอู้ ำ� นวยการฯ อยภู่ ายใตค้ ณะรฐั มนตรี และมคี ณะกรรมการ
นโยบายสุขภาพแห่งชาติ เพื่อบูรณาการการท�ำงานให้มี
ความหลากหลายมากยิ่งขึ้น ๒) ปฏิรูประบบบริการเป็นเขต
สุขภาพ โดยให้เขตเป็นผู้ก�ำหนดรูปแบบการบริหารจัดการ
เพอ่ื ใหเ้ กดิ การบรกิ ารทดี่ ี ๓) ปฏริ ปู การเงนิ การคลงั ดา้ นสขุ ภาพ
โดยเสนอให้ปรับปรุงการบริหารงบประมาณประกันสุขภาพ
แห่งชาติ เช่น ปรับหลักเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณของ
หลักประกนั ให้มธี รรมาภบิ าลและมีประสทิ ธิภาพ เปน็ ต้น และ
๔) สรา้ งระบบธรรมาภบิ าลและกลไกเฝา้ ระวงั ตรวจสอบถว่ งดลุ
ให้การบริหารจัดการในทุกระดบั เป็นไปตามหลักธรรมาภบิ าล
นายแพทยว์ นิ ยั สวสั ดวิ ร เลขาธกิ ารสำ� นกั งานหลกั ประกนั เพื่อการสาธารณสุขที่เหมาะสมและมีคุณภาพ โดยไม่ได้จ่าย
สขุ ภาพแหง่ ชาติ (สปสช.) กลา่ ววา่ ขอ้ เสนอเพอ่ื การปฏริ ปู ระบบ ณ จุดร่วมจ่าย จะต้องเป็นการร่วมจ่ายที่ประชาชนไม่ได้รับ
หลักประกันสุขภาพภาครัฐ ประกอบด้วย ๑) การจัดสรร ความเดือดร้อน และผู้ยากไร้ต้องได้รับการรักษาพยาบาลโดย
งบประมาณระบบหลักประกันสุขภาพให้เพียงพอและย่ังยืน ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย หากรัฐบาลสามารถจัดสรรงบประมาณ
เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสขุ ภาพทจี่ ำ� เป็นแก่ประชาชน พัฒนา ดา้ นสาธารณสุขได้เพยี งพอ ประชาชนไม่ต้องรว่ มจ่าย แต่หาก
ระบบบรกิ ารปฐมภมู ิบรกิ ารฉกุ เฉนิ บรกิ ารเฉพาะดา้ นทขี่ าดแคลน งบประมาณไม่เพียงพอ จึงให้ประชาชนร่วมจ่าย โดยค�ำนึงถึง
และพัฒนาบุคลากร ทั้งในด้านของจ�ำนวน ศักยภาพ และ อนาคตเปน็ สำ� คญั นอกจากน้ี ยงั มคี วามเหน็ วา่ ควรแยกเงนิ เดอื น
ความกา้ วหนา้ ๒) ลดความเหลอื่ มลำ�้ อยา่ งจรงิ จัง เพือ่ ใหร้ ะบบ ของบุคลากรในกระทรวงสาธารณสุขออกจากงบเหมาจ่าย
สวัสดิการรักษาพยาบาลภาครัฐมีความสอดคล้องกันและ รายหัวของหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เนื่องจากการรวม
ส่งเสริมให้ประชาชนทุกสิทธิได้รับการดูแลอย่างเท่าเทียมกัน เงนิ เดือนไว้กบั งบเหมาจ่ายรายหวั นน้ั เป็นเพราะต้องการเกลี่ย
โดยต้องมีสิทธิประโยชน์ร่วม ระบบข้อมูลร่วม และระบบการ คนออกจากโรงพยาบาลท่ีมีคนเยอะเมื่อเทียบกับฐานของ
ตรวจสอบรว่ ม ๓) สนบั สนนุ การพฒั นาระบบบรกิ ารสาธารณสขุ ประชากร แต่ช่วงเวลาท่ผี า่ นมาถงึ ๑๓ ปี ก็ยงั ไม่สามารถเกล่ยี
เช่น การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิท้ังในเขตเมืองและชนบท คนออกได้ จึงไม่มีความจ�ำเป็นท่ีจะต้องผูกเงินเดือนไว้กับ
หรอื การกระจายทรพั ยากรใหเ้ หมาะสมเพอ่ื สง่ ตอ่ อยา่ งไรร้ อยตอ่ งบเหมาจ่ายรายหวั อกี ตอ่ ไป
ในเขตพนื้ ท่ี และ ๔) การจดั การเฉพาะประเดน็ ทเ่ี ปน็ ปญั หาและ ส�ำหรับการสัมมนาในครั้งนี้มีขึ้นเพื่อระดมความคิดเห็น
ภาระของระบบโดยจัดระบบการเงินการคลัง ป้องกันสาเหตุ และข้อเสนอแนะในประเด็นด้านสาธารณสุข พร้อมรับฟัง
การตายท่ีส�ำคัญ และเพิม่ ประสิทธิภาพให้กับระบบ                           ความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อร่วมกัน
นายแพทย์เจตน์ ศิรธรานนท์ ประธานคณะกรรมาธิการ ผลกั ดนั ใหก้ ระบวนการปฏริ ปู มคี วามกา้ วหนา้ และเกดิ ผลสำ� เรจ็
การสาธารณสขุ สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาติ กลา่ ววา่ มหี ลากหลาย โดยนำ� ไปสกู่ ารแกป้ ญั หาความขดั แยง้ ในสงั คมไทยและชว่ ยสรา้ ง
ประเด็นที่สภานิติบัญญัติแห่งชาติเสนอความเห็นด้านการ ความปรองดองใหเ้ กิดขึน้ ทั้งน้ี คณะกรรมาธิการฯ จะรวบรวม
สาธารณสุขไปยังคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ซ่ึง ความคิดเห็นท่ีได้รับทั้งหมดมาสรุปและน�ำเสนอต่อคณะ
สอดคล้องกับสภาปฏิรูปแห่งชาติโดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ เพ่ือประกอบการจัดท�ำ
ได้เสนอเพิ่มเติมในประเด็นของการให้ประชาชนมีการร่วมจ่าย รัฐธรรมนญู ฉบับใหมต่ อ่ ไป

                                                                                                               มMนี าAคRมC๒H๕20๕1๘5              27
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32