Page 36 - สารสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (สิงหาคม 2558)
P. 36

ตามตดิ ภารกิจ กมธ.

โดย	กล่มุ งานคณะกรรมาธิการการพลังงาน
	 สำ� นักกรรมาธิการ ๑

คณะกรรมาธิการการพลังงาน สภานิติบัญญัติแห่งชาติ “โรงไฟฟ้าหงสา” เป็นโรงไฟฟ้าแห่งแรกใน สปป.ลาว ท่ี
น�ำโดย พลเอก สกนธ์ สจั จานติ ย์ ประธานคณะกรรมาธกิ าร ผลิตไฟฟ้าโดยใช้ถ่านหินจากเหมืองในเมืองหงสา มีก�ำลังการ
พร้อมด้วยคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาและติดตาม ผลติ ไฟฟา้ ๑,๘๗๘ เมกะวตั ต์ เปน็ ความร่วมมือระหว่างบริษัท
ด้านพลังงานฟอสซิล คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาและ บา้ นปู จ�ำกัด (มหาชน) บรษิ ัท ผลิตไฟฟา้ ราชบรุ ี โฮลดิง้ จ�ำกดั
ติดตามด้านพลังงานไฟฟ้า และคณะอนุกรรมาธิการพิจารณา (มหาชน) และลาว โฮลดิ้ง สเตต เอ็นเตอร์ไพร์ส ซ่ึงเป็น
ศึกษาและตดิ ตามด้านพลังงานทดแทน เดนิ ทางไปศึกษาดงู าน รฐั วสิ าหกจิ ของ สปป.ลาว โดยประโยชนข์ องโครงการดังกลา่ ว
และติดตามความคืบหน้าโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าหงสา ประกอบด้วย
ของบริษัท ไฟฟ้าหงสา จ�ำกัด ณ แขวงไซยะบุรี สาธารณรัฐ ๑.	 เป็นส่วนหน่ึงของความร่วมมือในการพัฒนาโครงการ
ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ระหว่างวนั ที่ ๑๒-๑๔ ผลิตกระแสไฟฟ้าในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
กรกฎาคม ๒๕๕๘ เพอื่ รบั ฟงั การบรรยายและเยยี่ มชมโครงการ จ�ำหน่ายให้กับประเทศไทย เพื่อสร้างรายได้ส�ำหรับการพัฒนา
โดยมี ผู้บริหารของบริษัท ไฟฟ้าหงสา จ�ำกัด ให้การต้อนรับ ประเทศอยา่ งมนั่ คงและต่อเน่อื ง
พรอ้ มบรรยายสรปุ เกย่ี วกบั นโยบาย แผนงานและความคบื หนา้ ๒.	 เป็นแหล่งผลิตพลังงานไฟฟ้าที่มั่นคงและสม�่ำเสมอให้
ของโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าหงสา                                               กับประเทศไทย และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
                                                                             ด้วยเช้อื เพลงิ ที่ไม่มีปจั จัยเสย่ี งดา้ นราคาและปรมิ าณ
                                                                             ๓.	 เป็นพ้ืนฐานของการพัฒนาความร่วมมือทางด้าน
                                                                             เศรษฐกิจและสงั คมรว่ มกนั ระหว่างลาว - ไทย (น่าน - ไซยะบุรี
                                                                             หลวงพระบาง - อุดมไซ)
                                                                             ๔.	 ช่วยพัฒนาระบบสาธารณูปโภคพ้ืนฐานและการ
                                                                             สาธารณสุข เพื่อใหป้ ระชาชนมคี ุณภาพชวี ิตที่ดขี ้ึน
                                                                             ๕.	 สร้างโอกาสทางการศกึ ษา การพฒั นาอาชพี การคา้ ขาย
                                                                             การท่องเที่ยว และธุรกิจต่อเน่ืองอ่ืน ๆ ให้กับประชาชนของ
                                                                             ทัง้ สองประเทศ

34 สาTรhสeภาNนaติ tiบิoญัnaญl Lตั eแิ gหi่งsชlaาtตivิ e Assembly Newsletter
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41