Page 36 - สารสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (มีนาคม 2558)
P. 36

รายงานพเิ ศษ

โดย สำ�นกั ภาษาตา่ งประเทศ

ระบบประกนั สขุ ภาพถว้ นหน้า : บทเรยี นของญ่ีป่นุ

เมอ่ื วนั ท่ี ๓๐ มกราคม ๒๕๕๘ ทผี่ า่ นมา ศาสตราจารยพ์ เิ ศษ ด้านสาธารณสุขเพื่อรับมือเกี่ยวกับการดูแลประชากรผู้สูงอายุ
พรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ใหไ้ ดร้ บั การบริการดา้ นสาธารณสขุ ที่มีประสทิ ธภิ าพย่งิ ข้นึ
พร้อมด้วย นายแพทย์เจตน์ ศิรธรานนท์ ประธานคณะ โอกาสน้ี นายเคอิโซะ ทาเคมิ (Mr. Keizo Takemi)
กรรมาธิการการสาธารณสุข สภานิติบัญญัติแห่งชาติ และ ไดบ้ รรยายเรอื่ ง การจดั การดา้ นระบบประกนั สขุ ภาพถว้ นหนา้
คณะ ใหก้ ารตอ้ นรบั นายเคอโิ ซะ ทาเคมิ (Mr. Keizo Takemi) และการแก้ปัญหาด้านนโยบายการประกันสุขภาพส�ำหรับ
ประธานองค์การสมาชิกรัฐสภาแห่งเอเชียด้านประชากร ผู้สงู อายุ โดยมปี ระเดน็ ส�ำคญั ดังน้ี
และการพัฒนา (Asian Forum of Parliamentarians ๑. แผนประกันสุขภาพในประเทศญปี่ ุ่น
on Population and Development : AFPPD) และ ประเทศญป่ี นุ่ มแี ผนการประกนั สขุ ภาพ ๓ แผนหลกั ไดแ้ ก่
คณะฯ ซ่ึงเดินทางมาเยือนประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์ แผนประกันสขุ ภาพชุมชน (Community - based Insurance
เพื่อบรรยายสรุปเรื่อง “ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า” Plan) แผนประกันสุขภาพพนักงาน (Employee - based
(Universal Health Coverage) พร้อมกับแลกเปลี่ยน Insurance Plan) และแผนประกันสุขภาพอ่ืน ๆ ส�ำหรับ
ความคดิ เหน็ และประสบการณเ์ กย่ี วกบั การจดั การระบบประกนั อตุ สาหกรรมขนาดเลก็ และขา้ ราชการ งบประมาณทใ่ี ชส้ นบั สนนุ
สุขภาพถ้วนหน้าในประเทศญี่ปุ่น ร่วมกับคณะกรรมาธิการ การประกนั สขุ ภาพมาจากภาษเี งนิ ไดข้ องประชาชน แผนประกนั
การสาธารณสุข สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ณ ห้องประชุม สขุ ภาพชมุ ชนไดร้ บั งบประมาณสนบั สนนุ จากรฐั บาล โดยรอ้ ยละ
คณะกรรมาธกิ าร หมายเลข ๓๐๘ ช้ัน ๓ อาคารรัฐสภา ๒ เพื่อ ๕๐ ของงบประมาณดงั กลา่ วใช้เพ่ือดแู ลผูส้ ูงอายุ
เปน็ ประโยชนต์ อ่ การจดั การดา้ นระบบประกนั สขุ ภาพถว้ นหนา้ ๒. ปัญหาด้านแผนประกันสุขภาพที่ประเทศญี่ปุ่นก�ำลัง
ของประเทศไทยในอนาคต                                                        เผชญิ
ประเทศญี่ปุ่นถือเป็นประเทศท่ีมีประชากรมีอายุคาดเฉล่ีย ประเทศญ่ีปุ่นก�ำลังประสบปัญหาแรงกดดันทางการเมือง
(Life Expectancy) และอายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ซ่ึงเป็นอุปสรรคต่อการจัดการเงินสนับสนุนประกันสุขภาพ
(Healthy Life Expectancy) สูงท่ีสุดของโลก ผลต่างอายุ ชมุ ชน โดยนกั การเมอื งมคี วามเหน็ วา่ การประกนั สขุ ภาพถว้ นหนา้
คาดเฉลี่ยและอายุคาดเฉล่ียของการมีสุขภาพดีของประชากร ต้องใช้งบประมาณและทรัพยากรจ�ำนวนมาก และประสบ
เพศชายและประชากรเพศหญิง คือ ๙.๒ ปี และ ๑๒.๖ ปี ความสำ� เรจ็ ยาก แมร้ ฐั บาลประเทศญปี่ นุ่ ไดเ้ คยเสนอการประกนั
ด้วยเหตุผลน้ี ประเทศญี่ปุ่นจึงมีร้อยละของประชากรผู้สูงอายุ สุขภาพชุมชนมาก่อนหน้านี้แล้วก็ตาม แต่กลับไม่ได้รับการ
ที่สูงท่ีสุดในทวีปเอเชีย และน�ำมาซึ่งภาระการดูแลของ สนับสนุนจากกลุ่มแรงงานซึ่งเป็นกลุ่มท่ีมีฐานคะแนนเสียง
ประชากรวัยท�ำงาน รวมไปถึงการรักษาพยาบาลผู้สูงอายุ ขนาดใหญ่ เนื่องจากคนกลุ่มน้ีมีประกันสุขภาพพนักงานและ
ของรัฐบาล ส�ำหรับประเทศไทยขณะน้ีก�ำลังเข้าสู่ยุคสังคม ได้รับการดูแลค่ารักษาพยาบาลจากบริษัทแล้ว จึงไม่จ�ำเป็น
ผู้สูงอายุเช่นเดียวกัน ซ่ึงในอีก ๑๐ ปีข้างหน้า ประชากรไทย จะตอ้ งมปี ระกนั สขุ ภาพชมุ ชนอกี ดว้ ยเหตนุ ้ี นายเคอโิ ซะ ทาเคมิ
จำ� นวนมากจะมอี ายปุ ระมาณ ๖๕ ปี ดงั นนั้ จงึ ควรเตรยี มพรอ้ ม จึงให้ค�ำแนะน�ำแก่คณะกรรมาธิการการสาธารณสุขฯ ของ

34 สาTรhสeภาNนaิตtiิบoญัnaญl Lัตeแิ gหi่งsชlaาtตivิ e Assembly Newsletter
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41