Page 36 - สารสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (กรกฎาคม 2558)
P. 36

✚ “การรว่ มจา่ ยและสถานพยาบาลเอกชนเปน็ ทางเลอื ก”
                                                                           สรปุ ประเด็นสำาคญั ได้ ดงั น้ี

                                                                           นางสาววิริยา พนู ค�า ผู้อำานวยการสำานักมาตรฐาน
                                                                           คา่ ตอบแทนและสวสั ดกิ าร (กรมบัญชีกลาง) กล่าวถึงนโยบาย
                                                                           ในการร่วมจ่ายเงินเพือ่ ให้โรงพยาบาลเอกชนเป็นทางเลือก
                                                                           เพ่อื ลดภาระของโรงพยาบาลรฐั และลดปญั หาคา่ รกั ษาพยาบาล
                                                                           ทมี่ ากเกินไปว่า ในปัจจุบันกรมบัญชีกลางได้ดูแลในส่วนของ
                                                                           สวัสดิการรักษาพยาบาลให้กับบุคลากรภาครัฐ ซึง่ ทผี่ ่านมา
                                                                           มงุ่ ไปที่โรงพยาบาลรฐั เปน็ หลกั จนกระทัง่ ในปี ๒๕๔๐ ได้มกี าร
                                                                           เพิ่มสวัสดิการในส่วนของกรณฉี ุกเฉินให้กับผู้ป่วย ซึง่ สามารถ
                                                                           เข้ารบั การรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลเอกชนได้ จากน้ันในปี
                                                                           ๒๕๕๔ กรมบญั ชกี ลางไดเ้ ปดิ รบั โรงพยาบาลเอกชนท่จี ะเขา้ รว่ ม
ต่อต้นทนุ ทางตรงของระบบการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาล                           โครงการรวม ๓๐ แหง่ และปจั จบุ นั ไดม้ โี รงพยาบาลเอกชนสมคั ร
เอกชน สรุปได้ว่า ค่ายาและค่าบริการเป็นสงิ่ สำาคัญทสี่ ะท้อน                เขา้ รว่ มโครงการอีก ๑๐๕ แหง่ หากผา่ นเกณฑจ์ ะมโี รงพยาบาล
ตน้ ทนุ ในการดแู ลสขุ ภาพผู้ป่วยในโรงพยาบาล และนำาไปสกู่ าร                เอกชนท่ีเขา้ รว่ มโครงการรวม ๑๘๐ แหง่ ซง่ึ เปน็ อกี ทางเลอื กหนง่ึ
พัฒนาศักยภาพด้านการรักษาพยาบาลของไทยให้อยู่ในระดับ                         ของผู้ป่วย นอกจากนี้ กรมบัญชีกลางยงั ได้ให้สิทธิ์ในการเบิก
มาตรฐานสากลได้มากขน้ึ ในอนาคต                                              รกั ษาโรคไดใ้ น ๗๗ กลมุ่ โรค ซ่งึ จะประกาศความชดั เจนอกี ครง้ั หน่งึ
                                                                           ส่วนประเด็นการเบิกจ่ายได้เพิ่มมากขึน้ ทางกรมบัญชีกลาง
     นายธเรศ กรัษนยั รวิวงศ์ รองอธบิ ดกี รมสนบั สนุนบรกิ าร                ขอนาำ ไปพจิ ารณาอีกครง้ั เน่อื งจากตอ้ งคาำ นงึ ถงึ เร่อื งงบประมาณ
สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุขและอนกุ รรมาธกิ ารและเลขานกุ าร                     และจาำ นวนของขา้ ราชการไปพรอ้ ม ๆ กัน
กล่าวว่า ปัจจุบันมีกฎหมายทเี่ กีย่ วข้องในการคุ้มครองการ
รักษาพยาบาล ได้แก่ ๑) พระราชบัญญัติสถานพยาบาล                                   สาำ หรบั นายเจตน์ ศริ ธิ รานนท์ ประธานคณะกรรมาธกิ ารฯ
พ.ศ. ๒๕๔๑ เป็นกฎหมายทีด่ ูแลเกี่ยวกับการขออนุญาต                           ไดแ้ สดงความเหน็ หว่ งใยกรณี “บตั รทอง” และคณุ ภาพในการ
ขึ้นทะเบยี นของสถานพยาบาลเอกชนทงั้ หมด ซึง่ กฎหมาย                         รักษาว่าอยากฝากให้หน่วยงานทเี่ กีย่ วข้องและสถานพยาบาล
ฉบับน้ี ไดร้ ะบเุ กย่ี วกบั การรกั ษาพยาบาลไวอ้ ยา่ งชดั เจน โดยให้        ใหค้ วามสาำ คญั และสรา้ งความเช่อื ม่นั ใหก้ บั ประชาชนท่ีใชบ้ รกิ าร
โรงพยาบาลแตล่ ะแหง่ มจี ดุ แสดงและสอบถามเกย่ี วกบั คา่ รกั ษา
พยาบาลแก่ประชาชน ๒) พระราชบญั ญตั ิว่าด้วยสนิ ค้าและ                            จากนั้น ประธานคณะกรรมาธิการฯ ได้กล่าวในช่วง
บริการ พ.ศ. ๒๕๔๒ ของกระทรวงพาณชิ ย์ ตามมาตรา ๒๔,                           ท้ายการสัมมนาว่า จะทำาอย่างไรให้ทงั้ โรงพยาบาลเอกชนและ
๒๕ และ ๒๖ เป็นกฎหมายทเี่ กี่ยวข้องกับการควบคุมสินค้า                       โรงพยาบาลรัฐเดินหน้าไปพร้อมกันอย่างมคี ุณภาพ และฝาก
และบรกิ าร นอกจากน้ี ยังมกี ฎหมายที่เกี่ยวข้อง อาทิ พระราช                 ให้รัฐบาลพิจารณางบประมาณด้านการรักษาพยาบาลเพิม่
บญั ญตั ิวชิ าชีพและพระราชบญั ญัตยิ า สว่ นบทบาทการควบคุม                  มากขึน้ และมุ่งเน้นเรื่องคุณภาพเป็นสำาคัญ ทัง้ นี้ ในส่วนของ
และบังคับใช้กฎหมาย ขณะนี้ กระทรวงสาธารณสุขได้ตั้ง                          ขอ้ มลู ท่ีไดร้ บั จากการสมั มนาคร้งั น้ี ขอใหค้ ณะอนกุ รรมาธกิ ารฯ
คณะกรรมการขน้ึ มา ๒ ชุดเพอื่ รับผิดชอบ คอื คณะกรรมการ                      จัดทำารายงานเสนอต่อคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข
อำานวยการและคณะกรรมการดำาเนนิ การ ซึง่ ได้รับมอบหมาย                       สภานิติบัญญัติแห่งชาติและกระทรวงสาธารณสุข เพือ่ นำามา
ให้ดูแลเรือ่ งเร่งด่วน ๓ เรือ่ ง คือ ๑) เรื่องยาในโรงพยาบาล                ประกอบการพิจารณาในการดำาเนินงานในส่วนทีเ่ กี่ยวข้องเพื่อ
เอกชน เห็นว่า ควรมกี ารแยกค่ายาและค่าบริหารจัดการยา                        หาแนวทางในการควบคมุ และวางมาตรฐานการรกั ษาพยาบาล
และคุณภาพยาให้ชัดเจน โดยเฉพาะค่ายาจะต้องมรี าคากลาง                        ใหเ้ หมาะสมต่อไป

ทีเ่ ท่ากันทุกโรงพยาบาล ๒) เรื่องระบบบริการด้านการแพทย์
ฉุกเฉนิ วิกฤติ ได้มีการวางแผนในการดูแลผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน
โดยมีหน่วยงานกลางเข้ามาช่วยประสานเกี่ยวกับค่ารักษา
พยาบาล และ ๓) เรอ่ื งระบบตรวจสอบอัตราคา่ รักษาพยาบาล
ได้มีการจัดทำาเว็บไซต์กลางเพือ่ ให้ประชาชนเข้ามาตรวจสอบ
ข้อมูลของโรงพยาบาลเอกชนต่าง ๆ ก่อนเข้าใช้บริการ และมี
สายดว่ นรบั เร่อื งรอ้ งเรยี นการรบั บรกิ ารในสถานพยาบาลตา่ ง ๆ

34 สาTรhสeภาNนaิตtiิบoญัnaญl Lตั eิแgหi่งsชlaาtตivิ e Assembly Newsletter
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41