Page 37 - สารสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (กรกฎาคม 2558)
P. 37

อินไซด์ อาเซียน

โดย คณะกรรมำธิกำรกำรพำณชิ ย์
   กำรอุตสำหกรรม และกำรแรงงำน
   สภำนิติบัญญตั ิแห่งชำติ

Written by the Standing Committee on Commerce,
Industry and Labour of the National Legislative Assembly
Translated by Bureau of Foreign Languages

     “เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนเชียงราย”
 ประตเู ศรษฐกิจไทยสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

                   “Chiang Rai Special Border Economic Zone”
       Thai Economic Gateway towards the ASEAN Economic Community

                                                                       The economic development is the key factor for
                                                                       securing the smart step towards the ASEAN Community.
                                                                       Considering the economic routes in the geographical
                                                                       aspect, Thailand shares its borders with many countries
                                                                       in this region and it is therefore regarded as the ASEAN’s
  การพัฒนาเศรษฐกิจเป็นหัวใจสำาคัญในการก้าวเข้าสู่                      regional hub. This is the strength of Thailand to promote
ประชาคมอาเซียน ซึง่ หากพิจารณาจากเส้นทางเศรษฐกิจตาม                    its borderline economic capacity development.
ลกั ษณะภูมศิ าสตร์ ประเทศไทยถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางของ                  Accordingly, Thailand must prepare for the arrival of
ภมู ิภาคอาเซยี น เน่อื งจากมอี าณาเขตตดิ ตอ่ กบั หลายประเทศใน          the ASEAN Economic Community. The development
แถบอาเซียน ซงึ่ เปน็ ข้อดีของประเทศไทยท่จี ะพัฒนาศกั ยภาพ              of specific areas to be the special economic zones
ด้านเศรษฐกิจตามแนวชายแดนได้อย่างดี ประเทศไทยจึงต้อง will enhance Thailand’s economy, trade, investment,
มกี ารเตรียมความพร้อมเพือ่ รับมอื กับการก้าวเข้าสู่การเป็น employment and competitiveness. To achieve such
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนทจี่ ะมาถึงในไม่ช้า ซึง่ การพัฒนา                a goal, studies and analysis should be conducted to
พ้นื ท่เี ฉพาะใหเ้ ปน็ เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษน้ัน จะนาำ มาซ่งึ การกระตนุ้  compare the development of special economic zones
ทางเศรษฐกิจการค้า การลงทนุ การจ้างแรงงาน การสร้าง                      in different countries so that the results of the studies
ขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยปัจจัยทีจ่ ะทำาให้ประสบ                   and analysis will be applied as guidelines for setting up
ผลสาำ เร็จไดน้ นั้ จะต้องมีการศกึ ษา เปรียบเทียบ และวิเคราะห์          the country development strategies and considering
เขตเศรษฐกิจพิเศษในประเทศต่าง ๆ เพื่อนำามาใช้ในการวาง                   the relevant legal instruments. In this regard, the
ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประเทศ รวมถึงการพิจารณาประเด็น                      government has launched a policy to promote the
กฎหมายต่าง ๆ ที่เก่ยี วขอ้ ง ทง้ั นี้ รฐั บาลได้มีนโยบายใหม้ ีการ      special border economic zone development in partial
                                                                       fulfillment of the mission to support the country’s
พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษบริเวณแนวชายแดนให้เป็นส่วนหนึง่ involvement in the ASEAN economic zones. This will be
ของการสนบั สนุนและรองรบั การนาำ ประเทศเขา้ สเู่ ขตเศรษฐกจิ good for boosting the economy, expanding the regional
อาเซียน อีกทัง้ เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจ กระจายความเจริญ growth and lessening the inequality for better life quality
สู่ภูมิภาค ลดความเหลือ่ มล้ำา เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของ               of people. “Chiang Rai Special Border Economic
ประชาชน ซึง่ “เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษชายแดนเชยี งราย” เปน็                  Zone” is one of the target areas to be developed as
หนึ่งเป้าหมายการพัฒนาเศรษฐกจิ บริเวณชายแดนของไทย                       the special border economic zone in Thailand.

  คณะกรรมาธกิ ารการพาณชิ ย์ การอตุ สาหกรรม และการ                        The Standing Committee on Commerce, Industry
แรงงาน สภานติ บิ ัญญัติแห่งชาติ ได้เล็งเห็นถึงความสำาคัญ               and Labour of the National Legislative Assembly has
ในการพัฒนาระบบเศรษฐกิจพิเศษบริเวณชายแดนซึ่งจะเป็น                      realized the importance of the special border economic
                                                                       system development which is the fundamental factor
รากฐานท่สี าำ คญั ในการพฒั นาเศรษฐกจิ การคา้ การลงทนุ รว่ มกนั for the enhancement of the ASEAN cooperation in

                                                                       35กรกฎาคม J๒u๕ly๕2๘015
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42